หุ้นเป็นหลักทรัพย์ประเภทหนึ่งที่แสดงถึงความเป็นเจ้าของหรือส่วนได้เสียในบริษัทหนึ่งๆ เมื่อคุณซื้อหุ้นของบริษัทใดๆ คุณจะกลายเป็นเจ้าของส่วนหนึ่งของบริษัทนั้น และมีสิทธิ์ได้รับเงินปันผล หุ้นแบ่งออกเป็นหลายหมวดหมู่และหลายประเภท สำหรับนักลงทุนที่ต้องการ
เมื่อคุณเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่หรือเจ้าของบริษัท การซื้อขายหุ้นจะซับซ้อนขึ้นเล็กน้อย คุณไม่เพียงแต่ต้องตัดสินใจเกี่ยวกับหลักประกันเท่านั้น แต่คุณยังมีอำนาจในการตัดสินใจเกี่ยวกับอนาคตของบริษัทอีกด้วย ในการเข้าร่วมการประชุมสามัญผู้ถือหุ้น คุณสามารถลงคะแนนเสียงในประเด็นสำคัญ เช่น คณะกรรมการ และการตัดสินใจทางธุรกิจ บุคคลที่ซื้อหุ้นจะเป็นส่วนหนึ่งของธุรกิจและมีส่วนได้ส่วนเสียในผลกำไรของบริษัท
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาหุ้น
ปัจจัยที่จะเข้ามาและส่งผลให้ราคาหุ้นปรับตัวขึ้นลงก็เป็นสิ่งที่เราต้องให้ความสำคัญและแยกแยะผลกระทบที่เกิดขึ้นให้ออกก็สามารถตักตวงผลประโยชน์ได้อย่างเต็มเม็ดเต็มหน่วย ส่วนปัจจัยอะไรบ้างที่เราต้องจับตาดูกัน:
- รายได้ - รายได้มีความสำคัญต่อการวิเคราะห์หุ้น ยิ่งบริษัทมีรายได้มากเท่าไหร่ หุ้นยิ่งมีราคาแพงมากขึ้น - ในทางทฤษฎี เมื่อบริษัทกำลังทำเงิน บริษัทจะสร้างรายได้ให้กับผู้ถือหุ้นในรูปแบบของปันผล มันสามารถที่จะถูกใช้เพื่อซื้อหุ้นคืนหรือลงทุน ซึ่งควรนำไปสู่การเพิ่มขึ้นทางมูลค่าของบริษัท จากการที่ปริมาณของหุ้นคงที่แทบจะไปไม่เปลี่ยนแปลง การเพิ่มขึ้นในมูลค่าของบริษัทนำไปสู่ราคาของหุ้นแต่หุ้นที่สูงมากขึ้น มันเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องจำไว้ว่าบางครั้งบริษัทที่มีราคาของหุ้นสูง อาจจะไม่ได้ทำเงินสูง อย่างไรก็ตามการเพิ่มขึ้นของราคาหมายถึง นักลงทุนกำลังคาดหวัดว่ากำไรจะเพิ่มขึ้นในอนาคต ถ้าไม่ราคาสามารถที่จะตกลงอย่างมาก จากที่เกิดขึ้นในช่วงวิกฤตฟองสบู่ นั้นเป็นเหตุผลที่ทำไมรายได้ถึงมีความสำคัญที่จำเป็นต้องดูในขณะที่มีการเทรดหุ้น
- อุตสาหกรรมหรือภาคส่วน - บริษัทกำลังดำเนินธุรกิจในภาคส่วนที่ชัดเจนของเศรษฐกิจ ตัวอย่างเช่น แอปเปิลเป็นหนึ่งบริษัทผู้นำด้านเทคโนโลยีขึ้นสูง ซึ่งหมายความว่ามันจะไม่แข่งกับโคค่า โคล่า แต่แน่นอนว่าจะต้องดูว่าธุรกิจของไมโครซอฟต์กำลังเป็นอย่างไร การแข่งขันที่ดุเดือดภายในภาคอุตสาหกรรมสามารถมีผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อกำไรของบริษัท ดังนั้นส่งผลให้มูลค่าของหุ้นต่ำลง
- การเงิน - สถานการณ์ทางการเงินของบริษัทบ่งบอกถึงความสามารถในการคงอยู่อย่างมีตัวตนในระยะยาว ความเสียหายในด้านนี้สามารถนำไปสู่ความเคลื่อนไหวอย่างมากของหุ้นบริษัท โดยหุ้นธนาคารในระหว่างวิกฤตปี 2008 เป็นตัวอย่างที่ดีที่สุด
- สภาพทางเศรษฐศาสตร์ - ราคาของหุ้นไม่เพียงแต่ขึ้นอยู่กับว่าเกิดอะไรขึ้นในบริษัท แต่ยังรวมไปถึงเกิดอะไรขึ้นนอกบริษัทอีกด้วย ตัวอย่างเช่นการเติบโตที่ถดถอยหรือแม้แต่การลดตัวสามารถที่จะส่งสัญญาณถึงการหดหายของรายได้ หรือแม้กระทั่งล้มละลาย ซึ่งสามารถสร้างผลกระทบต่อหุ้นได้ ในทางตรงกันข้าม การเติบโตทางเศรษฐกิจที่สูงสามารถที่จะปรับปรุงภาพรวมของบริษัทบางอย่างได้ โดยนำไปสู่การเพิ่มขึ้นของหุ้นบริษัทนั้นเอง
![]()
ในการลงทุนหุ้น จะมีปัจจัยหลายๆ ปัจจัยที่ต้องจับตา และนี้คือ 4 ปัจจัยสำคัญเมื่อเข้าสู่ตลาดหุ้น
อัตราส่วน
การสร้างมูลค่าให้กับบริษัทไม่ใช่เรื่องง่าย รายงานทางการเงิน ภาพรวมรายได้ และข้อมูลอุตสาหกรรมอาจดูซับซ้อนเกินไป อย่างไรก็ตาม มีวิธีง่าย ๆ ในการเปรียบเทียบหุ้นและประเมินว่าการลงทุนในบริษัทใดบริษัทหนึ่งจะสร้างกำไรได้หรือไม่ คุณสามารถใช้อัตราส่วนทางการเงินเพื่อค้นหาโอกาสในการเทรด ลองมาดูอัตราส่วนที่ได้รับความนิยมสูงสุดที่มีประโยชน์ในการวิเคราะห์ของคุณ:
- รายได้ต่อหุ้น (Earnings per share, EPS) - สิ่งนี้เป็นอัตราส่วนที่คำนวณจำนวนของรายได้สุทธิที่ได้จากหุ้นที่มีความโดดเด่นทั้งหมด ถ้ากำไรทั้งหมดถูกแบ่งโดยจำนวนของหุ้นทั้งหมดตอนปลายปี ในบางวิธีมันยังสะท้อนความน่าจะเป็นของบริษัทจากมุมมองของผู้ถือหุ้น ยิ่งค่านี้สูงมากเท่าไหร่ หุ้นยิ่งมีความน่าดึงดูดมากขึ้นเท่านั้น
- ราคาต่อรายได้ (Price to earnings, P/E) - อัตราส่วนราคาต่อรายได้เป็นตัวชี้วัดในการสร้างมูลค่าการลงทุนที่ได้รับความนิยมสูงที่สุด แม้ว่ามันจะไม่สมบูรณ์แบบ แต่มันก็สามารรรายงานในนามของผู้มีส่วนร่วมในตลาดเป็นส่วนใหญ่ มันเป็นการสร้างมูลค่าของราคาหุ้นล่าสุดของบริษัท เทียบกับรายได้ของหุ้นแต่ละหุ้น ยิ่งอัตราส่วนมีค่าสูง ยิ่งหมายถึงนักลงทุนต้องการที่จ่ายมากขึ้นสำหรับรายได้ของวันนี้ ในขณะที่ยิ่งมีค่าต่ำ ยิ่งหมายถึงว่าหุ้นจะถูกกว่า เกิดอะไรต่อไปละ หุ้นที่มี P/E สูงอาจจะแพงเกินไป ซึ่งอาจจะทำให้ไม่ดึงดูดการลงทุน กฎพื้นฐานคือยิ่งอัตราส่วน P/E ต่ำ หุ้นยิ่งมีความน่าดึงดูด
- อัตราส่วนผลตอบแทนหรือปันผล (Dividend Yield, DY) - สิ่งนี้เป็นอัตราส่วนที่บ่งบอกว่าบริษัทต้องจ่ายปันผลเป็นจำนวนเท่าไหร่ในแต่ละปี ซึ่งสัมพันธ์กับราคาหุ้นของบริษัทนั้น อัตราส่วนผลตอบแทนเป็นการแสดงถึงเปอร์เซ็นต์และสามารถถูกคำนวณโดยการแบ่งมูลค่าของปันผลที่ถูกจ่ายไปในแต่ละปีต่อหุ้นตามส่วนแบ่ง ซึ่งถูกถือตามมูลค่าของหุ้นหนึ่งหุ้น อัตราส่วนเป็นเครื่องมีที่มีประโยชน์สำหรับการเรียก “นักลงทุนปันผล” ที่กำลังมองหาหุ้นที่มีการเติบโตที่มั่นคงและมีการจ่ายปันผลที่ค่อนข้างดี
แน่นอนว่ามีอัตราส่วนอีกมากมายที่อาจจะเป็นประโยชน์ในการวิเคราะห์หุ้น คุณควรจะเลือกเองว่าอัตราส่วนเหล่านั้นตัวไหน ที่จะเป็นประโยชน์ในการกลยุทธ์การเทรดของคุณ เหมือนกันกับอัตราส่วนที่เคยกล่าวไว้ก่อนหน้านี้แล้ว ในกรณีของอัตราส่วนผลตอบแทน
XTB ให้คุณซื้อขาย CFD บนตราสารหุ้น แต่สัญญาเหล่านี้ไม่ใช่หุ้นของมันเองจริงๆ แม้ว่าพวกมันจะเคลื่อนไหวเหมือนกับสินค้าในเครือ แต่พวกมันไม่สามารถที่จะให้เพิ่มโอกาสอื่นๆ ให้กับคุณได้ ลองมาดูกันที่หัวข้อหลักที่มีความเชื่อมโยงกับผลตอบแทน CFD
- การเทรด CFD ช่วยให้คุณสามารถถือสถานะซื้อ ถ้าคุณเชื่อว่าราคาหุ้นจะเพิ่มชึ้น หรือ ถือสถานะขาย ถ้าคุณเชื่อว่าราคาหุ้นจะตก ดังนั้นการซื้อขาย CFDs มีความยืนหยุ่นมากกว่าการซื้อการค้าหุ้นทางกายภาพ ซึ่งทำให้คุณสามารถที่จะใช้ประโยชน์และสร้างกำไรจากการการเคลื่อนไหวของราคา ขึ้นหรือลง ถ้าตลาดเคลื่อนไหวไปในทิศทางที่ตรงกับการคาดการณ์ของคุณ
- คุณสามารถเทรดผลตอบแทน CFDs ด้วยเลเวอร์เลจในอัตราส่วนสูงสุดถึง 1:10 ดังนั้นหมายความว่าคุณสามารถที่จะเปิดสถานะซื้อขาย ขึ้นอยู่กับมูลค่าตามราคาตลาด (market capitalization) สภาพคล่อง และความผันผวนของหุ้นเฉพาะบางชนิด อย่างไรก็ตามโปรดระลึกไว้เสมอว่าเลเวอร์เลจใช้ได้กับทั้งสองสถานะ และคุณอาจจะขาดทุนหมดทั้งบัญชี ดังนั้นโปรดใช้ความระมัดระวังในการจัดการความเสี่ยงของคุณ
- ในขณะที่กำลังเทรด CFDs คุณจะต้องจ่ายค่าดอกเบี้ยทางการเงินรายวัน ที่เรียกกว่า จุด swap นั้นเป็นเพราะว่ามันเป็นการเทรดที่ใช้หลักประกัน
- คุณอาจจะกำลังมองหาบริษัทที่จ่ายปันผลและกำไรจากการปรับปรุงกระแสเงินสด (cash adjustments) โดยมีค่าเท่ากับยอดสุทธิ (สถานะขายถือว่าเป็นกระแสเงินสดที่เป็นบวก)หรือปันผลหยาบๆ(สถานะขายถือว่าเป็นกระแสเงินสดติดลบ) การออกสิทธิ์และการปั่นจะถูกจัดการด้วยวิธีการเดียวกัน เพราะการปรับปรุงกระแสเงินสดขึ้นอยู่กับราคาของตลาด เมื่อมีการสร้างรายการของสิทธิ์หรือการปั่นหุ้นเริ่มขึ้น สถานะที่ถูกเปิดจะถือว่าเป็นการปรับปรุงกิจกรรมของบริษัท ถ้าสถานะยังคงเปิดอยู่หลังจากที่ตลาดเปิดทำการในวันที่สัญญาหมดอายุ
- ธุรกรรมเกี่ยวกับCFDs ผลตอบแทน CFDs อาจจะทำให้คุณต้องเสียภาษี ขึ้นอยู่กับว่ามันเกี่ยวข้องกับกฎหมายของตลาดสินค้าอะไร
- การซื้อ CFD ไม่ได้ทำให้คุณเป็นเจ้าของบริษัทแต่อย่างใด ในทางตรงกันข้ามมันเป็นเพียงการซื้อหุ้นเท่านั้น นั้นหมายความว่าคุณสามารถที่จะทำการตัดสินใจเกี่ยวกับอนาคตของบริษัทได้ ถ้าคุณเป็นเจ้าของของหุ้นนั้น ซึ่งทำอย่างนั้นไม่ได้ในกรณีที่คุณเป็นเจ้าของ CFDs
อย่างที่คุณเห็น มีความแตกต่างหลายประการระหว่าง CFDs และหุ้นธรรมดา อย่างไรก็ตามตามปกติแล้วราคาของตราสารสินค้าทั้งสองชนิดมีการแสดงออกเหมือนกัน นั้นหมายความว่าคุณสามารถที่จะสนุกสนานไปกับคุณประโยชน์เกือบทุกประการที่มีความเชื่อมโยงกับการเทรดหุ้นโดยไม่ต้องเป็นเจ้าของพวกมันจริงๆ
ตราสารทางการเงินที่เรานำเสนอ โดยเฉพาะ CFD อาจมีความเสี่ยงสูง โปรดพิจารณาว่าคุณเข้าใจลักษณะของตราสาร และสามารถยอมรับความเสี่ยงในการสูญเสียเงินทุน การลงทุนตราสารทางการเงินอาจไม่เหมาะสำหรับทุกคน โปรดทำความเข้าใจในความเสี่ยงทั้งหมดก่อนตัดสินใจลงทุน
เนื้อหาของบทความนี้มีไว้เพื่อเป็นข้อมูลทั่วไปและวัตถุประสงค์ในการศึกษาเท่านั้น ความคิดเห็น การวิเคราะห์ ราคา หรือเนื้อหาอื่น ๆ ไม่ควรตีความว่าเป็นคำแนะนำด้านการลงทุนภายใต้กฎหมายของเบลีซ
ประสิทธิภาพที่ผ่านมาไม่ได้บ่งบอกถึงผลลัพธ์ในอนาคตเสมอ และลูกค้าที่ตัดสินใจโดยอิงจากข้อมูลนี้ถือเป็นความเสี่ยงของตนเองทั้งหมด XTB จะไม่รับผิดชอบต่อความสูญเสียหรือความเสียหายใดๆ รวมถึงแต่ไม่จำกัดเพียงการสูญเสียผลกำไรใดๆ ซึ่งอาจเกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการใช้หรือการพึ่งพาข้อมูลดังกล่าว การตัดสินใจซื้อขายทั้งหมดควรขึ้นอยู่กับวิจารณญาณที่เป็นอิสระของคุณเสมอ